โครงการก่อสร้าง สำนักงานชลประทานที่ 7
หน้าหลัก จัดซื้อจัดจ้าง ภาพกิจกรรม Avatar
โครงการก่อสร้าง สำนักงานชลประทานที่ 7
WATER for All - เพลงค่านิยมและวัฒนธรรม กรมชลประทาน :: สำนักชลประทานที่ 7 เร่งตรวจสอบข้อเท็จจริงถนนคันคลองส่งน้ำ :: รายงานสถานการณ์น้ำ 7 มกราคม 2559 สำนักงานชลประทานที่ 7 :: เข้าร่วมประชุมหน่วยงานในสังกัดสำนักงานชลประทานที่7 เพื่อรับมอบนโยบายในการดำเนินงาน :: บทบาทภารกิจกรมชลประทาน :: แนะนำสำนักชลประทานที่ 7 :: แนะนำสำนักงานชลประทานที่ 7 (UPDATED) :: วันจันทร์ที่ 27 มีนาคม 2566 เวลา 10.00 น. สำนักงานชลประทานที่ 7 โดยนายจักริน ประเสริฐสุวรรณ ผู้อำนวยการสำนักงานชลประทานที่ 7 มอบหมายให้ นายเศรษฐพงศ์ ภิงคารวัฒน์ ผู้อำนวยการส่วนบริหารจัดการน้ำและบำรุงรักษา พร้อมด้วย นายสุวัฒน์ สุวรรณไชยรพ ผู้อำนวยการส่วนเค :: วันศุกร์ที่ 24 มีนาคม 2566 เวลา 10.30 น. สำนักงานชลประทานที่ 7 โดย นายจักริน ประเสริฐสุวรรณ ผู้อำนวยการสำนักงานชลประทานที่ 7 มอบหมายให้ นายวุฒิชัย ศรีทอง ผู้อำนวยการส่วนแผนงาน พร้อมด้วย หัวหน้าฝ่าย และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง เข้าร่วมประชุมคณะทำงานแผนงานโ :: นายขจร ศรีชวโนทัย รองอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการสหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด ::
แนะนำสำนักงานชลประทานที่ 7

ตัวอย่างแสดงวิดีโอต้อนรับตัวอย่างแสดงวิดีโอต้อนรับตัวอย่างแสดงวิดีโอต้อนรับตัวอย่างแสดงวิดีโอต้อนรับ


ภาพกิจกรรม

รายการข่าวประชาสัมพันธ์

ดาวน์โหลดหนังสือราชการ

รายการวิดีโอกิจกรรม

ข่าวประชาสัมพันธ์

โครงการก่อสร้าง สำนักงานชลประทานที่ 7

ข่าวทั่วไป

คำถามที่พบบ่อย

คำตอบ : ได้ มีขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้ (๑) ประชาชนที่มีความประสงค์จะไปอยู่กับเทศบาลอื่น ยื่นคำร้องต่อเทศบาลที่ตนมีภูมิลำเนาอยู่และเทศบาลที่ต้องการจะไปอยู่ (๒) เทศบาลทั้งสองแห่งตรวจสอบเหตุผลและความจำเป็น แล้วรายงานผู้กำกับดูแล (๓) จังหวัดจัดประชุมราษฎรในเขตเทศบาลที่จะแยกพื้นที่บางส่วน และเทศบาลที่จะรับรวม (๔) หากประชาชนในเขตเทศบาลที่จะแยกพื้นที่บางส่วน ยินยอมให้ไป และเทศบาลที่จะรับรวมยินยอมรับ ให้จัดส่งเอกสารให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จำนวน ๓๐ ชุด ดังนี้ (๔.๑) สำเนารายงานการประชุมราษฎร ตามข้อ (๓) (๔.๒) เหตุผลความจำเป็นของเทศบาลที่จะแยกพื้นที่ไปรวม และเทศบาลที่รับพื้นที่มารวม (๔.๓) ข้อมูลพื้นฐานของเทศบาลทั้งสองแห่ง (๔.๔) ความเห็นของสภาเทศบาลทั้งสองแห่ง (๔.๕) ความเห็นของอำเภอ และจังหวัด (๔.๖) แผนที่และคำบรรยายแนวเขตใหม่ของเทศบาลทั้งสองแห่ง ขนาด ๑:๕๐๐๐๐ [ สน.พร. : สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง ** ]

คำตอบ : หลักเกณฑ์การจัดตั้งเป็นเทศบาลเมือง (๑) ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด หรือท้องถิ่นชุมนุมชนที่มีราษฎรตั้งแต่หนึ่งหมื่นคนขึ้นไป และ (๒) มีรายได้พอควรแก่การที่จะปฏิบัติหน้าที่อันต้องทำตามพระราชบัญญัตินี้ หลักเกณฑ์การจัดตั้งเทศบาลนคร (๑) ท้องถิ่นชุมนุมชนที่มีราษฎรตั้งแต่ห้าหมื่นคนขึ้นไป และ (๒) มีรายได้พอควรแก่การที่จะปฏิบัติหน้าที่อันต้องทำตามพระราชบัญญัตินี้ [ สน.พร. : สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง ** ]

คำตอบ : หลักเกณฑ์การขอเปลี่ยนแปลงชื่อ (๑) ชื่อเดิมมีความหมายไม่ดีไม่สุภาพหรือไม่เป็นมงคล (๒) การเปลี่ยนแปลงชื่อเพื่อแสดงถึงความเป็นมาทางภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์ดั้งเดิมสามารถพิสูจน์ได้จากเอกสารบุคคลหรือสถานที่ (๓) ชื่อที่เสนอขอเปลี่ยนแปลงต้องไม่ขัดต่อวัฒนธรรมและศีลธรรมอันดีของประชาชนและเป็นการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี (๔) ขอเปลี่ยนกลับไปใช้ชื่อเดิมซึ่งมีความหมายดีประชาชนนิยมเรียกขานเป็นระยะเวลายาวนานและเป็นที่รู้จักของประชาชนทั่วไป (๕) การขอเปลี่ยนแปลงชื่อเพื่อใช้ภาษาท้องถิ่นซึ่งมีความหมายในทางที่ดีและถือเป็นการอนุรักษ์ด้านภาษา (๖) การขอเปลี่ยนแปลงชื่อเป็นกรณีพิเศษโดยได้รับพระราชทานชื่อใหม่จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯและพระบรมวงศานุวงศ์หรือสมเด็จพระสังฆราชประทานให้ (๗) ชื่อเดิมไปตรงหรือพ้องกันกับชื่อส่วนราชการอื่นที่อยู่ในเขตติดต่อกันหรือในบริเวณเดียวกัน ขั้นตอนการขอเปลี่ยนแปลงชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อปท. จัดทำเรื่องเสนอขอเปลี่ยนมายังกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกระทรวงมหาดไทย เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบในเบื้องต้นก่อนและให้นำเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาเรื่องการขอเปลี่ยนแปลงชื่อจังหวัดอำเภอและตำบลหมู่บ้านหรือสถานที่ราชการอื่นๆเพื่อพิจารณาต่อไปโดยจัดทำเอกสารดังต่อไปนี้ จำนวน ๑๕ ชุด (๑) สำเนารายงานการประชุมสภา อปท. (๒) สำเนารายงานการประชุมราษฎรในเขตพื้นที่ (๓) ความเห็นชอบของนายอำเภอและผู้ว่าราชการจังหวัด (๔) รายงานประวัติความเป็นมาข้อเท็จจริงของสถานที่ที่ขอเปลี่ยนชื่อนั้นโดยสังเขปพร้อมทั้งเหตุผลในการขอเปลี่ยนแปลงชื่อและอธิบายความหมายของคำที่ขอเปลี่ยนแปลงให้ชัดเจน (๕) ทำแผนที่โดยสังเขปแสดงที่ตั้งของสถานที่ที่จะขอเปลี่ยนแปลงชื่อและสถานที่ใกล้เคียงที่สำคัญอื่นๆไว้ด้วย [ สน.พร. : สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง ** ]

คำตอบ : ญัตตินั้นสภาท้องถิ่นต้องพิจารณาเป็นรายญัตติไป แต่หากผู้บริหารท้องถิ่น เป็นผู้เสนอญัตติเห็นว่าเรื่องใดเป็นเรื่องเดียวกันก็จะนำมารวมเป็นญัตติเดียวกันก็ได้ เช่น ญัตติขอจ่ายขาดเงินสะสม อาจนำเอารายการจ่ายขาดเงินสะสมเพื่อใช้จ่ายในเรื่องต่างๆ มารวมเป็นญัตติเดียวกันก็ได้ [ กม. : กองกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น ]

คำตอบ : ตามมาตรา 25 แห่ง พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2552 ได้กำหนดให้นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสาม ของจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเท่าที่มีอยู่ อาจทำคำร้องยื่นต่อประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเท่าที่มีอยู่ อาจยื่นคำร้องต่อประธานสภาองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดขอให้เปิดการประชุมสมัยวิสามัญได้ ดังนั้น พ.ร.บ. อบจ. มาตรา 25 จึงเป็นการยื่นคำร้องให้ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด เรียกประชุมสมัยวิสามัญ มิใช่การเสนอญัตติ เพราะการเสนอญัตติเป็นการเสนอเรื่องเพื่อให้สภาท้องถิ่นพิจารณา [ กม. : กองกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น ]

คำตอบ : ตามข้อ 26 แห่งระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547 ได้กำหนดว่า เมื่อถึงเวลานัดประชุมและสมาชิกสภาท้องถิ่นมาครบองค์ประชุมแล้ว แต่ไม่มีประธานสภาท้องถิ่นและรองประธานสภาท้องถิ่น ก็ให้สมาชิกสภาท้องถิ่นผู้มีอายุมากที่สุด ซึ่งอยู่ในที่ประชุมคราวนั้นเป็นประธานที่ประชุมชั่วคราว เพื่อให้สมาชิกสภาท้องถิ่นเลือกกันเองเป็นประธานที่ประชุมคราวนั้น ประธานที่ประชุมคราวนั้นต้องจัดให้มีการเลือกประธานสภาท้องถิ่นแทนตำแหน่งที่ว่าง ตามข้อ 15 แห่งระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547 โดยประธานที่ประชุมคราวนั้นทำหน้าที่ประธานที่ประชุมเพื่อเลือกประธานสภาท้องถิ่นแทนตำแหน่งที่ว่าง กรณีของ อบต. ประธานที่ประชุมคราวนั้น รายงานผลการเลือกประธานสภา อบต. แทนตำแหน่งที่ว่างต่อนายอำเภอ และเมื่อนายอำเภอแต่งตั้งประธานสภา อบต. แล้ว จึงมาดำเนินการเลือก รองประธานสภา อบต. แทนตำแหน่งที่ว่างต่อไป ซึ่งประธานสภา อบต. และรองประธานสภา อบต. จะปฏิบัติหน้าที่ได้เมื่อนายอำเภอมีคำสั่งแต่งตั้ง [ กม. : กองกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น ]

คำตอบ : แนวทางขั้นตอนการขึ้นทะเบียนมีดังนี้การรับขึ้นทะเบียนจะรับในช่วงเดือน 1-30 พฤศจิกายน ของทุกปี ซึ่งปีนี้จะเริ่มรับขึ้นทะเบียนในวันที่ 1-30 พฤศจิกายน 2558 เพื่อรับเบี้ยยังชีพฯในปีงบประมาณ 2560 โดยผู้ที่มีสิทธิรับขึ้นทะเบียนต้องเป็นผู้ที่เกิดก่อน 1 ตุลาคม 2499 กรณีผู้สูงอายุ ต้องไม่เป็นผู้ได้รับเงินดือนหรือรายได้จากรัฐ หากมีข้อสงสัยเพิ่มเติม สามารถติดต่อมาที่ อบต.หนองบัวทอง สำนักงานปลัด อบต.

คำตอบ : จ่ายช่วงวันที่ 3 – 10 ของเดือน

คำตอบ : “ท้องถิ่นก้าวไกล ใส่ใจคุณภาพชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”

คำตอบ : สามารถดูได้จากอัตราค่าบริการสาธารณสุขจากกรมบัญชีกลาง คะ คลิกที่นี่

คำตอบ : ติดต่อเรา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยเตย ตำบลห้วยเตย อำเภอซำสูง จังหวัดขอนแก่น รหัสไปรษณีย์ 40170 โทร. 043-210-755 Fax. saban@domanin.go.th Email : admin@domanin.go.th


กิจกรรมบน Facebook

เว็บบอร์ด


ทำเนียบบุคลากร

นายภัคภาค คุณะเกษม

ฝ่ายบริหาร
โทร : 0 4253 0943
Email : en.const7@gmail.com


เข้าสู่ระบบสมาชิก





Avatar
เข้าร่วมกลุ่ม LINE
เพื่อรับข่าวสารแจ้งเตือน

ทดสอบเพิ่มบล๊อกเมนูขวา

เพิ่มหัวข้อเรื่อง

สถิติการใช้งาน



ติดตามเรา Facebook



รับ-ส่ง อีเมลภายใน